นำเข้า ตอนที่ 1

ก่อนอื่น อยากให้เพื่อนเข้าใจก่อนว่า ไม่ใช่ว่าอะไรก้อ นำเข้า มาแล้วคุ้มนะครับ เพราะสินค้าบางอย่าง ต่อให้คุณไป นำเข้า มาก็สู้ผู้ผลิตในประเทศตัวเองไม่ได้ยกตัวอย่าง สินค้า งานปั๊ม งาน ถูกๆ หรืองานใช้ ขยะ เศษเหล็กมาทำ แม้จีนจะเป็นต้นน้ำเหล็ก แต่แข่ง เอาเศษเหล็กมาทำ ก็ไม่มีทางชนะได้ เพราะสินค้า ทุกอย่างที่นำเข้าจะต้องมี cost เพิ่มขึ้น จากค่านำเข้า ค่าภาษี และ ถ้าในกรณีนำเข้าสินค้าที่มีราคาถูกแต่กลับมีน้ำหนักเยอะ สินค้ากลุ่มนี้ทำเองในไทยคุ้มกว่า แต่อยู่ที่ว่า เราจะหาสินค้า เก่งแค่ไหนในไทย

สินค้าที่ นำเข้า ส่วนใหญ่ น่าจะเป็นสินค้าที่เราสนใจจริง และรู้จักตลาดจริงๆ เช่น เกิดเราไปซื้อร้าน เห็นว่าของแพง เราไป นำเข้า ได้ราคาถูก แต่หารู้ไม่ว่าเราไปซื้อกับผู้ผลิตหรือยี่ปั๊วในไทย ก็ราคานี้ เอาเข้ามาก็ขายส่งไม่ได้ ขายได้แต่ end user ที่ ซื้อได้ราคาแพงตามที่เรากำหนด ดังนั้น งานค้าขาย มันควรจะอยู่ในวงการเรา หรือเราต้องศึกษาจนมั่นใจว่า ราคา ที่เรากำลังจะเอาเข้ามามันถูกและดีจริง

คราวนี้ จะบอกถึงขั้นตอนการนำเข้า ทั่วๆไปก่อน ไม่ว่าจะนำเข้าสินค้ามาจากไหนก็ตามสิ่งที่ต้องทำคือ

1 เจรจาซื้อขาย

2 จ่ายเงิน หรือถ้าแน่จริงก็ขอเครดิตให้ได้ครับ

3 ขนส่ง

4 ออกของ

ในกรณีของนำเข้าทั่วไป มันจะมีราคา สินค้า ซึ่งอาจเป็นราคา FOB หรือ CIF เป็นราคาที่ ทางเราขอไป ถ้า FOB ก้อเป็นราคาประมาณว่า กูไปส่งมึงถึงท่า ก็จบเรื่องของกูนะ

ค่าใช้จ่ายอื่นๆไม่เกี่ยว การซื้อขายแบบปรกติ นี้ มีข้อดีและข้อเสียต่างกันไป เพราะว่า นำเข้าปรกติถูกๆ คือทางเรือแล้วราคาค่านำเข้า ค่อนข้างต่ำ แต่ต้องมีปริมาณมากๆ เพราะถ้าน้อย Fix cost ในส่วนค่าดำเนินการ มันจะทำให้ต้นทุนสินค้าเราสูง เช่นถ้านำเข้าสินค้าสักยี่สิบตัน ต้นทุนรวมหมด อาจหารออกมาเหลือแค่โลละ 5-10 บาท

แต่สิ่งที่เราต้องคำนึง สำหรับสินค้าที่นำเข้ามาคือ   อัตราภาษี ในไทย เป็นอย่างไร เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้า 30% เหล็ก 10% หรือ สินค้าที่ทำเขตการค้าเสรีไว้ ที่ต้องมีใบรับรอง อาจ 0%

การนำเข้าแบบนี้ได้ต้นทุนถูก ถ้า นำเข้า เหมาตู้ แต่กรณี เอาแค่ บางส่วนของตู้ LCL ก็ไม่ได้สูงมาก แต่จะมาโดนค่าอื่นๆและสุดท้ายค่าชิปปิ้ง

วิธีการนี้ ถ้าเราตกลงซื้อขาย ส่งของสำเร็จ เราก้อต้องมี ตัวแทน ส่งของ ซึ่งตัวแทนในไทย เจ้านึง ตัวแทนที่นั่น เจ้านึง ซึ่งถ้าเราไม่มี เค้าจะหาให้เรา ตัวแทนที่นี่ก้อจะมีบริษัท ที่ทำครบวงจรเยอะแยะ หรือคนปรกติก้อรับวิ่ง แล้ว ก้อทำให้หมด หาไม่ยาก แต่ เราต้องจ่ายๆๆๆค่า ชิปปิ้ง ถ้าสินค้า มาน้อยยิ่งเพิ่มต้นทุน

นำเข้า สินค้า อุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องมือช่าง น็อตสกรู

 

นำเข้า
นำเข้า

 

กลับสู่หน้าหลัก

keyword อุปกรณ์ไฟฟ้า, งานไฟฟ้า , งานติดตั้ง ,งานระบบ , อุปกรณ์ไฟฟ้า ตัดเหล็กเหนียว  ,อุปกรณ์ติดตั้ง ,ระบบไฟฟ้า , แรงสูง , แรงต่ำ , งานลาดสายเมน , งาน Main Feeder ,  H.V. System , Cable , Low Voltage System , Wiring , Diagram , Support , Hanger , ผลิตภัณฑ์ ,Panasonic , SKP , Kota , Focus , Matsushita , KJL , TIC , BSM ,นำเข้า  Pri , MOS , Euro Duct ,  Thai Yazaki , SEC , SC , PS , Steel City ,Union, Arrow , ตัดเหล็กเหนียว  Tiger , T-Lug , Nitech , BandexMCCB , CB , Panel , Wiring , CCTV , MATV , BUSBAR ,  ตัดเหล็กเหนียว ลูกถ้วย RACKช่อง , Wireway ,  Conduit , ท่อร้อยสายไฟ , ท่อEMT , ท่อIMC , ท่อRSC , Cable Tie ,  Cable Ladder , สายไฟ , สาย NYY , สาย THW , สาย VAF , สาย VCT , นำเข้า สาย CV , สาย CVV , ไส้ไก่พันสาย , เทปพันสายไฟ , วายมาร์คเกอร์ , วายนัท , ตัดเหล็กเหนียว  หางปลา , สลิปย้ำสาย , ปลอกหางปลา , นำเข้า สายทองแดงเปลือย , สายโทรศัพท์ , สาย RG-6 , Fitting & Accessroies ,  รางซี ,แคล้มประกับ , ล็อกนัท ,บุชชิ่ง , ท่อเหล็กอ่อน (Flexible Conduit) นำเข้า , ท่ออ่อนกันน้ำ (W/P Flexible Conduit) , คอนเน็คเตอร์ , คุปปิ้ง , ล็อคนัท , บุชชิ่ง ,หางปลาหนา2ชั้น,หางปลากลม, ตัดเหล็กเหนียว  หางปลาแฉก สลิปย้ำสาย , ตัดเหล็กเหนียว ตัดเหล็กเหนียว   น้ำยาร้อยสาย, อุปกรณ์ไฟฟ้า , เกลียวตลอด , น็อต , สกรู , แฮงเกอร์ , ยูโบว์ , พุคตอก นำเข้า  , พุคดร็อปอิน , พุคตะกั่ว , พุคสตั๊ด , พุคST ,ปลั๊กฝัง ,พุคเคมี, พุคdouble expansion Anchor , anchor , dropin anchor , ST anchor , สกรูเกลียวมิล ,สกรูหัวกลมผ่า ,หัวน็อต